วันพุธที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2558

Mae Hong Son (แม่ฮ่องสอน)






Daily flights into Mae Hong Son’s small airport bring growing numbers of tourists, attracted by the spectacular scenery, numerous hill tribe communities, and soft adventure opportunities.
For those familiar with the name, Mae Hong Son conjures fantastic images of rugged, mist enshrouded mountains where isolated tribal villages await exploration. From the fascinating culture of the indigenous tribal communities to the spectacular natural beauty of the countryside, Mae Hong Son is certainly a dream-come-true destination for many visitors.Nestled in a deep valley hemmed in by high mountain ranges, Mae Hong Son town has long been isolated from the outside world. Virtually covered with mist throughout the year, Mae Hong Son was once only accessible via harrowing, windy, narrow roads that took most of a day to traverse, an adventurous drive that made the town that much more alluring. The name of Mae Hong Son refers to the fact that its terrain is highly suitable for the training of elephants. In fact, former governors of Chiang Mai used to organize the rounding up of wild elephants which were then trained in Mae Hong Son before being sent to the capital for work. Elephants remain an important part of the local culture, and elephant trekking is a popular tourist activity, often combined with overnight hill tribe home stays and river rafting.
Mae Hong Son is a fascinating province of Burmese and Lanna style temples, hot springs, hill tribe villages, trekking, rafting, national parks, and even an annual reggae festival. In addition to a charming capital in Mae Hong Son town, the town of Pai is also a traveler favorite; many people come to Mae Hong Son and Pai to experience the natural beauty of northern Thailand or witness one of the many festivals that are celebrated in Mae Hong Son, especially the annual novice ordination ceremony for young men declaring their intentions to become Buddhist monks.


จังหวัดแม่ฮ่องสอนตั้งอยู่ทางตอนบนของภาคเหนือ เป็นหนึ่งในหลายจังหวัดชายแดนด้านตะวันตกของไทย มีความโดดเด่นในหลายลักษณะ ทั้งสภาพภูมิประเทศและความหลากหลายของประชากร จากหลายกลุ่มชาติพันธุ์ เป็นจังหวัดที่มีประชากรเบาบางที่สุดในประเทศ โดยมีประชากรน้อยมากเป็นอันดับ 3 ในขณะที่มีพื้นที่มากเป็นอันดับ 8 ของประเทศแม่ฮ่องสอนได้ชื่อว่าเป็น “เมืองสามหมอก” เนื่องจากเป็นเมืองที่ล้อมรอบด้วยภูเขาสูงสลับซับซ้อน อากาศเย็นและมีหมอกปกคลุมตลอดทั้ง 3 ฤดูของปี มีป่าไม้หนาแน่น ธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ ทิวทัศน์สวยงาม มีความหลากหลายทางด้านวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจและเป็นที่นิยมทั้งในหมู่นักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติมากมาย นับเป็นจังหวัดท่องเที่ยวที่สำคัญอีกจังหวัดหนึ่งของภูมิภาคและของประเทศสมัยก่อนกรุงรัตนโกสินทร์ เมืองแม่ฮ่องสอนเดิมเป็นชุมชนบ้านป่า ไม่มีผู้ใดปกครอง มีชาวไทยใหญ่บางส่วนจากชายแดนประเทศสหภาพพม่าที่อพยพเข้ามาทำมาหากิน ทำไร่ทำสวนเป็นบางฤดูกาล ความสำคัญของเมืองนี้ในสมัยนั้น เป็นเพียงทางผ่านของกองทัพพม่า ที่เดินทัพไปยังกรุงศรีอยุธยาหรือหัวเมืองฝ่ายเหนือของไทยในปี พ.ศ. 2433 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดให้รวมเมืองแม่ฮ่องสอน เมืองขุนยวม เมืองยวม (แม่สะเรียง) และเมืองปาย ตั้งเป็นเขตปกครองที่เรียกว่า “บริเวณเชียงใหม่ตะวันตก” ตั้งที่ว่าการอยู่ที่เมืองขุนยวม แล้วย้ายไปตั้งที่เมืองยวมในปี พ.ศ. 2446 ต่อมาในปี พ.ศ. 2453 ก็เปลี่ยนชื่อเขตอีกครั้งเป็น “บริเวณพายัพเหนือ” แล้วย้ายที่ว่าการไปตั้งที่เมืองแม่ฮ่องสอน และขึ้นตรงต่อข้าหลวงใหญ่มณฑลพายัพจนกระทั่งในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ได้ถูกยกฐานะขึ้นเป็น “จังหวัดแม่ฮ่องสอน” จนถึงปัจจุบัน





Phrae (แพร่)





The former center of Thailand’s teak industry, Phrae features many old teak mansions as well as protected forests ideal for hiking and spotting exotic wildlife.
An old and important community of Northern Thailand, Phrae was founded after Chiang Mai had been established as the capital of the Lanna Thai kingdom. Phrae contains one of the largest reserves of teak forests in the country and is located on the banks of the Yom River, 555 kilometers north of Bangkok Like Chiang Mai, Phrae retained its fortified old city, while the new city grew around it. While the new city is charming enough, the old one contains sleepy alleyway lined with teak houses that are outstanding examples of traditional Thai architecture and a number of beautiful temples. Many of these immense teak mansions were constructed by European traders who were engaged in the teak trade back in the 19th century. In the surrounding province, there are several national parks, some remote hill tribe villages, and a number of stands of teak, which are now widely protected from loggers.
Phrae is a province steeped in legend and that’s no surprise as the city was founded around the same time as the Lanna and Sukhothai Kingdoms nearly 800 years ago. Renowned for its vast teak forests, Phrae features a number of colonial style teak homes and mountainous forests including three national parks. There are a number of hill tribe communities in the countryside as well as villages where traditional handicrafts are produced. Those looking to expand their knowledge of the local culture can even spend some time at the local folklore museum or explore the quiet alleyways of the city’s old town, where many old and beautiful temples and teak mansions can be found.




หม้อห้อมไม้สัก ถิ่นรักพระลอ ช่อแฮศรีเมือง ลือเลื่องแพะเมืองผี คนแพร่นี้ใจงาม
แพร่เป็นเมืองเก่าแก่ที่มีตำนานเล่าขานถึงความรุ่งเรืองมายาวนาน รวมทั้งยังเป็นเมืองกำเนิดของเรื่องราวแห่งความรักอันยิ่งใหญ่ในวรรณคดีเรื่องลิลิตพระลอ ที่หลายคนคุ้นหูกันอย่างดีนอกจากแพร่จะเป็นดินแดนที่เต็มไปด้วยร่องรอยทางประวัติศาสตร์น่าเรียนรู้แล้ว ยังมีแหล่งธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ งดงามด้วยสายน้ำและผืนป่า ให้ไปเยือนได้ตลอดทั้งปีอีกด้วย
จังหวัดแพร่ตั้งอยู่ทางภาคเหนือตอนบนริมฝั่งแม่น้ำยม เป็นเมืองเก่าแก่ที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานตั้งแต่ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 เดิมเมืองนี้เป็นนครรัฐอิสระ จนกระทั่งมีการสถาปนาอาณาจักรล้านนาขึ้น จึงถูกผนวกเป็นเมืองภายใต้การปกครองของอาณาจักรล้านนาจากหลักฐานต่างๆ ที่ค้นพบ ทำให้ทราบว่า จังหวัดแพร่มีชื่อที่ใช้เรียกกันมาหลายชื่อ เช่น “เมืองพล” เป็นชื่อที่เก่าแก่ดั้งเดิมที่สุด “เมืองโกศัย” เป็นชื่อที่ปรากฏในพงศาวดารเชียงแสน “เมืองแพล” ตามที่ปรากฏอยู่ในศิลาจารึกหลักที่ 1 ของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช และ “เมืองแพร่” เป็นชื่อที่คนไทยในอาณาจักรสุโขทัยและอยุธยาใช้เรียกเมืองแพล แต่ได้เพี้ยนเสียงเป็น “แพร่” และใช้มาจนถึงปัจจุบันจากการสำรวจพื้นที่ต่างๆ ของจังหวัด ที่ผ่านมามีการค้นพบหลักฐานทางโบราณคดีหลายอย่างที่ระบุว่ามีร่องรอยการอยู่อาศัยของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ เช่น พบขวานหินกะเทาะและขวานหินขัด ในเขตอำเภอลองและอำเภอวังชิ้น เป็นต้น นอกจากนี้ ที่อำเภอสองยังมีประวัติเกี่ยวกับเมือง “เวียงสรอง” ที่เป็นเมืองโบราณในวรรณคดีเรื่องลิลิตพระลอ ที่รู้จักกันทั่วไปด้วยแพร่แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 8 อำเภอ เช่น อำเภอเมืองแพร่ อำเภอสูงเม่น อำเภอเด่นชัย อำเภอลอง ฯลฯ







Phetchabun (เพชรบูรณ์)





A province of rich history and fertile soil, Petchabun is a province with great natural attractions; particularly its forested mountains and waterfall laden rivers that help create a climate that is cool and pleasurable nearly year round.
Despite being farther south than neighboring Loei, Phetchabun is considered part of the north than the northeast or central regions of Thailand. That said, its topography is similar to that of Loei, as Phetchabun borders three regions of Thailand, the North, Central, and Northeast. The central part of Phetchabun province is in the Pa Sak River basin and contains mountain ranges running along both the western and eastern sectors. Because of the fertility of the land, Phetchabun has always been an agriculturally productive area. The very name of the province derives from a name meaning “the land of crops and foods.” Today, Phetchabun is a province with rich tourism potential. Its climate is pleasant due to the mountainous and forested areas, and it has a rich history dating back more than 1,400 years.
Phetchabun is a province of rich tourism potential with attractions including Khao Kho National Park, which has been referred to as "Little Switzerland" because of its beautiful scenery and cool weather; Nam Nao National Park, which features a large number of wild animals that can be spotted while trekking; and Than Thip Waterfall, which is a popular place for swimming.Phetchabun also features a rich history dating back more than 1,400 years, the height of which occurred after the 11th century when the city was a point of contact between the Dvaravati and Khmer Empires. The city was a prosperous center and a number of ruins remain for visitors to appreciate at Si Thep Historical Park.


เมืองมะขามหวาน อุทยานน้ำหนาว ศรีเทพเมืองเก่า เขาค้ออนุสรณ์ นครพ่อขุนผาเมือง
เมืองมะขามหวานคือสมญานามของเพชรบูรณ์ จังหวัดที่อยู่ในเขตภาคเหนือตอนล่าง เป็นดินแดนแห่งขุนเขา ผืนป่าเขียวขจี ทัศนียภาพสวยงาม อากาศสดชื่นเย็นสบายตลอดปี โดยเฉพาะบริเวณเขาค้อ ที่ได้รับฉายาว่าเป็น “สวิตเซอร์แลนด์เมืองไทย”เพชรบูรณ์เดิมมีชื่อว่า "เพชรบุระ" หรือ "พืชปุระ" อันหมายถึงเมืองแห่งพืชพันธุ์ธัญญาหาร สันนิษฐานว่ามีการสร้างเมืองมาตั้งแต่ยุคสุโขทัย และยุคที่สองคือสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ซึ่งเมืองนี้ทำหน้าที่เป็นเสมือนกำแพงชั้นนอกเพื่อป้องกันข้าศึกเข้ามารุกราน ต่อมาในสมัยอยุธยา เมืองเพชรบูรณ์กลายเป็นเมืองสำคัญในการเคลื่อนทัพผ่าน จนกระทั่งถึงสมัยรัชกาลที่ 6 เพชรบูรณ์ก็ถูกยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด ในยุคสมัยหนึ่ง เพชรบูรณ์กลายเป็นสมรภูมิสู้รบระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์กับรัฐบาลไทย โดยเฉพาะในบริเวณเขาค้อและภูหินร่องกล้า กลายเป็นพื้นที่สีชมพูยาวนานกว่า 13 ปี ปัจจุบันเขาค้อและภูหินร่องกล้ได้รับการพัฒนาจนเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของจังหวัดเพชรบูรณ์












Chiang Mai (เชียงใหม่)




Thailand’s “Rose of the North” is a cultural and natural wonderland with ethnic diversity, a multitude of attractions and welcoming hospitality.
Chiang Mai literally means “new city” and has retained the name despite celebrating its 700th anniversary in 1996. King Meng Rai the Great founded the city as the capital of the Lanna Kingdom on Thursday, April 12 1296 around the same time as the establishment of the Sukhothai Kingdom. King Meng Rai even conferred with his friends, King Ramkhamhaeng of Sukhothai and King Ngam Muang of Phayao before choosing the site where the capital of the Lanna Kingdom was to be founded. Henceforth, Chiang Mai not only became the capital and cultural core of the Lanna Kingdom, it was also to be the center of Buddhism in northern Thailand. King Meng Rai himself was a very religious leader who even founded many of the city’s temples that remain important to this day. Chiang Mai is one of the few places in Thailand where it is possible to experience both historical and modern Thai culture coexisting side by side: the city features centuries-old pagodas and temples next to modern convenience stores and boutique hotels. This dichotomy is best appreciated within the moat-encircled old city, which retains much of the fortified wall that once protected the city center as well as the four main gates that provided access to the former Lanna capital city. Strangely, for many years tourists had mistaken Chiang Mai simply as the base from which they could plan trekking and rafting trips to hill tribe villages and explore other provinces. Once in Chiang Mai, however, tourists are surprised by the fact that there are so many things to discover other than its beautiful and historic temples. Intriguing diversity among ethnic tribes, a number of elephant camps, many cooking and massage schools, numerous outdoor activities, a variety of handicrafts workshops, various cultural performances, and breathtaking scenery make Chiang Mai one of Asia’s most attractive tourist destinations. The phrase "a day in Chiang Mai is enough to see things around town" was once a common expression. Today, two weeks in Chiang Mai may not be long enough for travelers to experience all that Chiang Mai has to offer.
The old city of Chiang Mai is a showcase of the north’s fascinating indigenous cultural identity that includes diverse dialects, a delectable cuisine, distinctive architecture, traditional values, lively festivals, numerous handicrafts workshops, northern style massage, and classical dances. Chiang Mai is also blessed with pristine natural resources including mountains, waterfalls, and rivers. The presence of numerous hill tribes that feature a wealth of unique cultures enhances Chiang Mai’s distinctive diversity. Hill tribe trekking, often combined with river rafting and elephant riding has always been one of Chiang Mai’s greatest tourist attractions. Nowadays there are innumerable activities and attractions both in the city and the surrounding province, including massage instruction and golf. Moreover, visitors can visit workshops where they can learn about the production of silk or silver, and purchase memorable, hand-crafted souvenirs. With such a diverse range of attractions and an equally grand selection of dining and accommodation options, Chiang Mai is a place where both backpackers and luxury tourists can enjoy the ultimate Thailand holiday.


เชียงใหม่ หรือชื่อเดิม “นพบุรีศรีนครพิงค์” ก่อตั้งเป็นราชธานีแห่งอาณาจักรล้านนาเมื่อกว่า 700 ปีก่อน โดยพญาเม็งรายมหาราช ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์เม็งราย ต่อมาในสมัยพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก เชียงใหม่มีฐานะเป็นเมืองประเทศราช และเมื่อมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการปกครองส่วนภูมิภาคในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมืองเชียงใหม่จึงเปลี่ยนฐานะเป็นมณฑลพายัพ และกลายเป็นจังหวัดในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เชียงใหม่นับเป็นศูนย์กลางของจังหวัดในภาคเหนือ โดยเฉพาะเรื่องการท่องเที่ยว ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักและได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศ เนื่องจากความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยว ทั้งทางด้านธรรมชาติอันงดงาม ด้านศิลปวัฒนธรรม และประเพณีของชาวเชียงใหม่ที่เป็นเอกลักษณ์น่าประทับใจ และความพรั่งพร้อมในเรื่องสถานที่พักและบริการด้านการท่องเที่ยวต่างๆ ที่หลากหลาย เป็นที่ดึงดูดคนมาท่องเที่ยวนับล้านคนในแต่ละปี














Chiang Rai (เชียงราย)





The quieter neighbor of Chiang Mai, Chiang Rai is a land of outstanding natural beauty, where visitors looking to avoid the hordes can visit remote hill tribes, spot exotic wildlife, and check out the golden triangle, the former center of the world’s opium trade.
Chiang Rai has been inhabited since the 7th century, but it was not until 1262 that King Meng Rai established it as the first capital of the Lanna Kingdom. The capital was later relocated to Chiang Mai and since that time Chiang Rai has lived in the shadow of its neighboring province, though for tourists this is a good thing.Today, Chiang Rai is a traveler’s paradise, endowed with abundant natural attractions and antiquities. Attractions range from ruins of ancient settlements and Buddhist shrines to magnificent mountain scenery and hill tribe villages. For those interested in the natural side of Chiang Rai, jungle trekking is a magical experience; explore the mountains of the north along various hiking trails, many of which access the villages of diverse hill tribes groups, many of whom maintain their traditional lifestyles. Chiang Rai town, which tends to be a little more ‘laid back’ than its more popular neighbor, now competes with Chiang Mai as a tourist attraction and is fast becoming a popular escape for tourists wanting to leave their troubles behind.
Chiang Rai, the former capital of the great Lanna Kingdom, is a fascinating province filled with cultural and natural wonders, including the Golden Triangle where Thailand, Laos, and Burma come together; an area that was once the hub of opium production, a trade that had much influence on cultural practices and lifestyles. Chiang Rai had stayed off the tourist radar for many years, its people enjoying very leisurely development and mostly traditional, rural lifestyles. Until this day, entire clans live together in bamboo houses and each village has its own individual character. Recently tourism has boomed in Chiang Rai, where visitors have come to explore the pristine natural beauty of the countryside and immerse themselves in the indigenous culture, including those of a variety of different hill tribe communities. Fortunately for tourists, Chiang Rai is also a center for community development projects, helping rural villagers develop their attractions without adversely affecting their natural and cultural assets.








เหนือสุดในสยาม ชายแดนสามแผ่นดิน ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา ล้ำค่าพระธาตุดอยตุง
เชียงราย ดินแดนแห่งขุนเขา เป็นจังหวัดที่อยู่เหนือสุดของประเทศไทย เป็นเมืองเก่าแก่ที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานตั้งแต่สมัยเชียงแสนของพญามังราย ผู้ก่อตั้งเมืองเชียงรายบนพื้นที่ราบลุ่มแม่น้ำกก อุดมสมบูรณ์ไปด้วยป่าไม้บนดอยสูงที่สลับซับซ้อน เป็นแหล่งกำเนิดต้นน้ำและน้ำตกอันงดงามหลายแห่ง และมีเทือกเขาผีปันน้ำที่เป็นพรมแดนกั้นประเทศสหภาพพม่าจนถึงด้านทิศเหนือ อีกทั้งเป็นจุดแรกที่แม่น้ำโขงไหลผ่านประเทศไทย เป็นพรมแดนกั้นกลางระหว่างประเทศไทยกับประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวเชียงรายมีประชากรหลายเชื้อชาติ ทั้งชาวไทยพื้นราบ ชาวไทยภูเขา และชาวจีนฮ่อที่อพยพเข้ามาอาศัยอยู่บนดอยสูง แต่ละชนชาติจะมีประเพณี วัฒนธรรม และวิถีชีวิตที่มีเอกลักษณ์ เป็นเสน่ห์อีกอย่างที่ทำให้เชียงรายได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ
ทิศเหนือ ติดต่อกับสหภาพพม่า ทิศใต้ ติดต่อกับจังหวัดพะเยา ทิศตะวันออก ติดต่อกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทิศตะวันตก ติดต่อกับจังหวัดเชียงใหม่














Uthai Thani (อุทัยธานี)






A land with a long history and great ethnic diversity, Uthai Thani features unspoiled wilderness that provides refuge for Thailand’s endangered wildlife species, particularly within Huai Kha Khaeng Wildlife Reserve, a Natural World Heritage Site.
Uthai Thani is a province abundant in natural resources, such as forests and wildlife. The Huai Kha Khaeng Wildlife Reserve here was even proclaimed a Natural World Heritage Site because of its pristine jungles, forests, plains, streams, and most importantly, a number of rare and endangered animals. Visitors can also see the different lifestyles of Uthai Thani locals, such as the life of raft residents on the Sakae Krang River, a waterway that has been a lifeline for the people of Uthai Thani since ancient times. Life on and around the river eventually grew from a small community into the major province that it is today, although some residents continue to live upon the river, both the source for their livelihoods and as a means for provincial trading.The most striking indication of the bond between the people and the river occurred in 1906, when King Rama V visited the Northern provinces and stayed in Sakae Krang village, where the monk Phra Khru Uthai Tham Nithet (Chan) built twin rafts to receive the king. In addition, at the end of the Buddhist Lent, Buddhists from many regions congregate at the foot of Khao Sakae Krang in Wat Sangkat Rattana Khiri for a major merit-making tradition called Tak Bat Thewo. This festival has been held in Uthai Thani since ancient times.
Uthai Thani is located in the lower northern region of Thailand, though the capital city is somewhat off the main route between Bangkok and Chiang Mai. Consequently, few tourists go out of their way to visit this somewhat remote province, which features striking natural beauty, including the Huai Kha Khaeng Wildlife Reserve, a Natural World Heritage Site. In addition to trekking and looking for endangered wildlife, visitors to Uthai Thani also enjoy visiting the floating village on the Sakae Krang River, the lifeblood of the province. The province also features a museum with prehistoric artifacts, a number of ruins, colorful cave paintings, hot springs, and a buffalo market. Visitors looking for unspoiled Thai countryside and authentic Thai hospitality will not be disappointed by a holiday in Uthai Thani.


อุทัยธานี เมืองพระชนกจักรี ปลาแรดรสดี ประเพณีเทโว ส้มโอบ้านน้ำตก มรดกโลกห้วยขาแข้ง แหล่งต้นน้ำสะแกกรัง ตลาดนัดดังโคกระบือ
อุทัยธานี เมืองพระมหาชนกจักรี ริมฝั่งแม่น้ำสะแกกรัง พื้นที่อันอุดมสมบูรณ์แห่งนี้มีผู้คนเข้ามาอาศัยตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ดังหลักฐานภาพเขียนผนังผาเขาปลาร้าในเขตอำลานสัก จนยุคสมัยสุโขทัย มีตำนานว่า ท้าวมหาพรหมได้รวบรวมผู้คนเข้ามาสร้างเมืองที่บ้านอุทัยเก่า หรือเรียกว่า "เมืองอู่ไทย” ซึ่งตั้งอยู่ที่อำเภอหนองฉางในปัจจุบัน ผู้คนที่อาศัยมีทั้งชาวทวารวดีเชื้อสายมอญและคนไทยในสมัยอยุธยา เมืองอุทัยธานีมีฐานะเป็นหัวเมืองหน้าด่านชั้นนอก เพื่อสกัดกั้นกองทัพพม่าที่จะเข้ามาตีกรุงศรีอยุธยาทางด่านเจดีย์สามองค์และด่านเมาะตะมะ ต่อมาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีผู้คนอพยพมาตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนบริเวณที่ลุ่มแม่น้ำสะแกกรังมากขึ้น โดยเฉพาะชาวลาวที่ถูกกวาดต้อนมาจากเวียงจันทน์และหลวงพระบาง และชาวจีนโพ้นทะเล ทำให้อุทัยธานีกลายเป็นศูนย์กลางการค้าของผู้คนในละแวกนั้น ในรัชกาลที่ 7 ได้มีการยกเลิกการปกครองแบบมณฑล และยกฐานะกลายเป็นจังหวัดอุทัยธานีจนถึงปัจจุบันอุทัยธานีวันนี้สงบเงียบ วิถีชีวิตผู้คน เรือนไม้ห้องแถวในตลาดริมฝั่งแม่น้ำสะแกกรัง ยังคงเป็นภาพประทับใจที่ผู้มาเยือนสามารถพบเห็นได้อยู่เสมอ ผู้คนส่วนใหญ่ในจังหวัดประกอบอาชีพกสิกรรม ทำนา ทำสวน ทำประมงพื้นบ้าน เลี้ยงปลากระชังริมฝั่งแม่น้ำสะแกกรังและแม่น้ำเจ้าพระยา นอกจากนี้ยังมีผืนป่ามรดกโลกห้วยขาแข้งเป็นส่วนหนึ่งของป่าตะวันตก ป่าผืนใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่อุดมสมบูรณ์มีความหลากหลายทางธรรมชาติทั้งพันธุ์พืชและสัตว์ป่า







Uttradit (อุตรดิตถ์)




A province in the North of Thailand bordering Laos, Uttaradit has a long history dating back to pre-historic times. The site of the “modern” town, then called Bang Pho Tha It, was located on the right bank of the Nan River during the Dvaravati or Lavo periods, prior to Lanna and Sukhothai, when it flourished as a commercial port until King Rama V elevated its status into a province and re-named it Uttaradit, literally “the Port of the North.”
Uttaradit, which literally means “the Port of the North” has a long history of commercial importance. Today, the city is a naturally beautiful town and the province contains Queen Sirikit Dam, a 250 km² artificial lake, as well as the world's largest teak tree, which has stood for roughly 1500 years.





เหล็กน้ำพี้ลือเลื่อง เมืองลางสาดหวาน บ้านพระยาพิชัยดาบหัก ถิ่นสักใหญ่ของโลก
จังหวัดอุตรดิตถ์ตั้งอยู่ทางภาคเหนือตอนล่าง เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานตั้งแต่สมัยก่อนยุคประวัติศาสตร์ โดยสันนิษฐานว่ามีผู้คนอยู่อาศัยตั้งถิ่นฐานในบริเวณนี้มาตั้งแต่ก่อน พ.ศ. 1000 เนื่องจากมีการค้นพบกลองมโหระทึกทำด้วยทองสัมฤทธิ์ที่ตำบลท่าเสา อำเภอเมืองฯ ซึ่งเป็นโลหะชนิดที่มีใช้กันอยู่ในยุคสัมฤทธิ์หรือยุคโลหะตอนต้น อันเป็นยุคก่อนประวัติศาสตร์นั่นเองอุตรดิตถ์ได้ชื่อว่าเป็นเมืองแห่งพระแท่นศิลาอาสน์ ตำนานอันลึกลับของเมืองลับแล ดินแดนแห่งลางสาดหวานหอม และเป็นบ้านเกิดของพระยาพิชัยดาบหัก ขุนศึกคู่บารมีของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชก่อนสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ตัวเมืองอุตรดิตถ์ในปัจจุบันนี้เป็นเพียงตำบลชื่อ "บางโพธิ์ท่าอิฐ" ที่ขึ้นอยู่กับเมืองพิชัย แต่เนื่องจากในสมัยนั้น เมื่อพ่อค้าจะนำสินค้าจากเมืองหลวงพระบาง น่าน หรือเมืองทางเหนืออื่นๆ ไปขายทางใต้ เช่น พิษณุโลก นครสวรรค์ อยุธยา กรุงเทพฯ หรือจะนำสินค้าจากทางใต้ขึ้นเหนือ ก็ต้องแวะพักกันตามท่าน้ำจอดเรือของบางโพธิ์ท่าอิฐ ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนสินค้าและวัฒนธรรม ตลอดจนการโยกย้ายถิ่นที่อยู่อาศัยของกลุ่มชนต่างๆ ตามแนวลำน้ำขึ้น บางโพธิ์ท่าอิฐซึ่งอยู่ริมฝั่งขวาของแม่น้ำน่านมีความเจริญขึ้นอย่างรวดเร็ว เมื่อถึงในสมัยของรัชกาลที่ 5 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ยกฐานะตำบลบางโพธิ์ท่าอิฐขึ้นเป็นเมือง "อุตรดิตถ์" ซึ่งมีความหมายว่า “ท่าน้ำแห่งทิศเหนือ” แต่ยังคงขึ้นกับเมืองพิชัยอยู่ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 เมืองอุตรดิตถ์มีความเจริญขึ้นมากกว่าเมืองพิชัย จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด และเมืองพิชัยเลื่อนลงไปเป็นอำเภอหนึ่ง ขึ้นกับจังหวัดอุตรดิตถ์จนถึงทุกวันนี้




Sukhothai (สุโขทัย)





Source of national heritage, the Thai alphabet, the best Loy Krathong celebration, firm foundation of Buddhism, fine Teen Jok cloth, ancient chinaware, holy Pho Khun (Ramkhamhaeng’s mother), dawn of happiness.
Founded in the 13th century, Sukhothai, which literally means “Dawn of Happiness”, was the first truly independent Thai Kingdom and enjoyed a golden age under King Ramkhamhaeng, who is credited with creating the Thai alphabet. The superb temples and monuments of this great city have been lovingly restored, and Sukhothai Historical Park, a UNESCO World Heritage Site, is a must-see for all travelers. Sukhothai became an independent kingdom when two princes-Pho Khun Pha Muang and Pho Khun Bang Klang Hao combined their forces and drove the Khmers out of Sukhothai, then a major frontier post of the Angkor Empire.One of Thailand’s finest warriors, King Ramkhamhaeng, second son of Pho Khun Bang Klang Haok, made Sukhothai a powerful and extensive kingdom that even established direct political relations with China. Returning from the funeral of Emperor Kublai Khan, King Ramkhamhaeng brought back Chinese artisans who taught the art of pottery to the Thais. While visitors are eager to pick up today’s Sangkhalok Pottery, antique examples of such are eagerly sought by collectors.King Ramkhamhaeng also promoted religion and culture, and through his efforts Buddhism flourished among the population. Inspirational faith gave birth to classic forms of Thai religious arts; images of the Lord Buddha sculptured during the Sukhothai Era are cultural treasures that impart a feeling of peace and serenity.A total of eight kings ruled Sukhothai but the gradual decline of Sukhothai occurred during the reigns of the last two kings. The end of this first Thai kingdom occurred in 1365 when it became a vassal state of Ayutthaya, a rising power to the south.
Sukhothai, which literally means “Dawn of Happiness”, may be the most romantic of all former Thai capital cities. The superb temples and monuments of this great city have been lovingly restored, and Sukhothai Historical Park, a UNESCO World Heritage Site, is a must-see for all travelers, particularly in the evening when the graceful Buddha images are illuminated by lights, while exploring the grassy, tree lined park via bicycle, or most spectacularly, during the Loy Krathong festival, when hundreds of candle-powered, floating lanterns are released into the sky. King Ramkhamhaeng, who reigned over Sukhothai’s golden age promoted religion and culture, and brought Chinese artisans back to the city to teach his people the art of pottery. Visitors can visit villages still engaged in the production of Sangkhalok Pottery as well as Hat Siao cloth, named for the village in Si Satchanalai district, just north of Sukhothai town. This famous hand-woven cloth is produced not far from Si Satchanalai Historical Park, where the ruins of another important historical city can be explored.





สุโขทัย อาณาจักรเก่าแก่ร่วม 700 ปี เป็นราชธานีแห่งแรกของชาติไทย โดยมีพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ขึ้นครองราชย์เป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์พระร่วง สืบสายกษัตริย์ปกครองประชาราชหลายพระองค์ อาณาจักรสุโขทัยเจริญรุ่งเรืองที่สุดในยุคสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ผู้ทรงพระปรีชาสามารถทั้งทางด้านการศึกสงคราม การเมืองการปกครอง ศาสนา จนขยายอาณาเขตออกไปไกลถึงดินแดนโพ้นทะเลอย่างเมืองนครศรีธรรมราช ที่สำคัญ ทรงเป็นผู้ประดิษฐ์อักษรไทย เป็นรากฐานที่พัฒนาจนเป็นภาษาประจำชาติในปัจจุบันไม่ใช่แค่ภาษาไทย แต่ในอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยและที่ศรีสัชนาลัย ยังคงมีร่องรอยแห่งอารยธรรมทางสังคม งานศิลปะ และสถาปัตยกรรมทรงคุณค่าหลงเหลืออยู่อย่างครบถ้วน จนได้รับการยกย่องให้เป็น มรดกโลก โดยองค์การยูเนสโก สร้างความสุข ความภาคภูมิให้กับชาวไทยไม่ใช่น้อย ดังความหมาย “รุ่งอรุณแห่งความสุข” ที่มาจากชื่อเมืองสุโขทัยนั่นเอง














Lamphun (ลำพูน)






An ancient city with a hospitable population famed for its beautiful women, Lamphun retains its old-world charm and draws visitors to its natural beauty.
Lamphun, a small northern province sandwiched between Chiang Mai and Lampang has a long and storied history. Lamphun was founded as the city of Haripunjaya, a Mon kingdom-city, arguably part of the Dvaravati civilization, established in the ninth (perhaps seventh) century by former Buddhist monks from Lopburi. Haripunjaya was first ruled by Queen Camadevi, daughter of the king of Lopburi, who established a legacy for the province’s reputation for beautiful women. The kingdom she ruled over thrived for several centuries, exerting wide influence across the region, before King Meng Rai used subterfuge to conquer the town in late 12th century and integrate it into the Lan Na Kingdom based in nearby Chiang Mai.Today, Lamphun still retains the enchanting ambience of a small but old community, where life moves at a leisurely pace and remnants of the city’s fortifications remind visitors of the city’s proud history. Lamphun is some 670 kilometers from Bangkok and only 26 kilometers from Chiang Mai. Located on the banks of the Kuang River, Lamphun features a skyline made of temple spires and attractions across the province include ancient sites as well as forests, mountains, and lakes.
Nearly a thousand years after subjugation by the Lanna Kingdom from Chiang Rai, Lamphun remains a fairly sleepy province, particularly in contrast to its more popular and populous neighbor, Chiang Mai. This is in fact Lamphun’s allure. The charming provincial capital retains its fortified, moat-enclosed old city where the local population lives a relatively slow-paced lifestyle. Visitors will enjoy visiting exquisite temples via bicycle or samlor, bicycle powered cabs, and exploring a lush countryside where various hill tribe communities live and a number of natural attractions, including as Doi Khun Than National Park, feature many exotic plants and wildlife.



ลำพูน จังหวัดเล็กๆ ในภาคเหนือที่เรื่องราวของประวัติศาสตร์ไม่ได้เล็กตามพื้นที่ แต่กลับยิ่งใหญ่และเก่าแก่ที่สุดในดินแดนล้านนา เดิมลำพูนมีชื่อว่า "นครหริภุญไชย" สร้างขึ้นราว พ.ศ.1200 โดยฤาษีวาสุเทพได้เกณฑ์พวกเมงคบุตร หรือละว้า ล่องเรือลงมาจากต้นแม่น้ำปิง เพื่อสร้างเมืองใหม่ ครั้นเมื่อสร้างเสร็จได้อัญเชิญพระนางจามเทวี พระธิดาแห่งเมืองละโว้มาปกครองเมืองเป็นพระองค์แรก จากนั้นนครหริภุญไชยก็มีกษัตริย์ครองเมืองสืบต่อมาอีกหลายพระองค์ยาวนานกว่า 600 ปี ก่อนจะตกเป็นเมืองขึ้นของอาณาจักรล้านนา และต่อมาตกเป็นเมืองขึ้นของพม่าอีกกว่า 200 ปีจนมาถึงสมัยกรุงธนบุรี เจ้ากาวิละได้รับการสนับสนุนจากพระเจ้าตากสินมหาราชขับไล่พม่าสำเร็จ จนได้ครองเมืองเชียงใหม่ แล้วให้เจ้าคำฟั่น น้องชายครองเมืองลำพูน ต่อมาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เมืองลำพูนมีฐานะเป็นเมืองขึ้น มีเจ้าผู้ครองนครสืบต่อกันมา จนเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 จึงได้มีการยกเลิกตำแหน่งเจ้าผู้ครองนคร และยกฐานะเป็นจังหวัดลำพูนจนถึงปัจจุบันลำพูนในปัจจุบันมีศักยภาพด้านการท่องเที่ยวในเชิงศิลปวัฒนธรรมเป็นอย่างมาก มีแหล่งท่องเที่ยวทั้งวัดวาอาราม เจดีย์เก่าแก่ ศิลปะล้านนาแท้ที่มีลวดลายอันวิจิตรงดงาม อีกทั้งงานหัตถกรรมที่สั่งสมกันมาอย่างยาวนานจนเป็นสินค้าขึ้นชื่อ อย่างผ้าไหมยกดอก นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งปลูกลำไย กระเทียม แหล่งใหญ่ของภาคเหนือ ส่วนด้านอุตสาหกรรม ลำพูนนับเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพ เป็นศูนย์กลางของภาคเหนือตอนบน และมีนิคมอุตสาหกรรมในพื้นที่สี่เหลี่ยมเศรษฐกิจร่วมกับจังหวัดเชียงใหม่

Lampang (ลำปาง)




The charming city of horse drawn carriages and province with the king’s stable of white elephants at the Thailand Elephant Conservation Center.
Most visitors simply visit Lampang to see the Thailand Elephant Conservation Center, bypassing Lampang town on their way to Chiang Mai and provinces farther north. However, while the elephant center is certainly a must-see attraction, those willing to spend some time in the provincial capital are generally surprised by the charming and somewhat unusual town and province of Lampang.Famous for its horse-drawn carriages and sporting a rooster on its provincial emblem (the bird also honored with a large statue in the center of town), Lampang boasts a long history of human settlements within the Wang River basin, some of which date back more than 1,000 years. Lampang is rich in archaeological evidence from the kingdoms of Hariphunchai, Lanna, and Burma. The horse and carriage, a mode of local transportation that has survived the introduction of automobiles to Lampang, is a fun way to explore the surprisingly large town, which features a number of beautiful old temples. The rooster statue, which you are likely to pass along the way, is a much older symbol of Lampang, dating back to the city’s former name, Kukutthanakorn, or City of Roosters, a name that was derived from a local legend about a white rooster that was sent by the Brahmin God Indra to wake the local inhabitants so they could give alms to the Lord Buddha, who was purportedly visiting the town. On the road from Lampang to Chiang Mai is the Thailand Elephant Conservation Center, the oldest and only government sponsored elephant center in Thailand, where the King’s white elephants are housed, visitors can learn about elephants, and elephant demonstrations are regularly performed.
Lampang city is the capital of the province of the same name, a city that features horse drawn carriages, relaxing riverside bars and restaurants, a number of spectacular Buddhist temples, and a friendly, laid-back local population. Just outside of the city, on the road to Chiang Mai, the Thailand Elephant Conservation Center is one of the premier venues for visitors to learn about elephants and watch elephant demonstrations.

ลำปาง เดิมชื่อเขลางค์นคร เป็นเมืองหลวงคู่แฝดกับอาณาจักรหริภุญไชย ซึ่งเจ้าเมืองทั้งสองเป็นโอรสแฝดของพระนางจามเทวี นับเป็นอีกจังหวัดในภาคเหนือที่เป็นแหล่งอารยธรรมล้านนาไทยที่น่าสนใจ ทั้งขนบธรรมเนียมประเพณีที่สืบทอดกันมาแต่โบราณ มีวัดวาอารามและสถาปัตยกรรมท้องถิ่น มีรถม้าที่ไม่เหมือนใคร มีอาหารการกินแสนอร่อย มีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย ทำให้ลำปางกลายเป็นเมืองที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นเป็นของตนเอง เช่น มีเครื่องปั้นดินเผาที่ทำจากดินขาวขึ้นชื่อกับถ้วยชามตราไก่ที่เห็นกันจนคุ้นชินแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติยังคงความอุดมสมบูรณ์และสวยงาม มีอุทยานแห่งชาติหลายแห่งที่มีเสน่ห์น่าดึงดูด ทั้ง ถ้ำ น้ำตก มีเส้นทางศึกษาธรรมชาติ และบ่อน้ำร้อน สิ่งเหล่านี้ทำให้จังหวัดลำปางกลายเป็นจุดหมายที่นักเดินทางทั้งหลายต้องแวะเที่ยวชม มิใช่เป็นแค่เมืองผ่านอีกต่อไป















































Phitsanulok (พิษณุโลก)




In addition to its importance in the history of Thailand, Phitsanulok features rivers, mountains, and forests, ideal for lovers of natural beauty.
Apart from its exceptional natural charisma, Phitsanulok provides visitors with an opportunity to explore notable chapters of Thailand's history. For example, Phitsanulok contains evidence of an ancient community dating back between 2,000 and 4,000 years, including ancient stone axes. In addition, the old temple of Wat Chula Mani, situated 5 kilometers south of the city, was built even before the Sukhothai Kingdom came to power in the 12th century. Phitsanulok prospered under both the Kingdoms of Sukhothai (1238-1378 C.E.) and Ayutthaya (1350-1767 C.E.). In particular, it played a strategic role in the Ayutthaya era when it became the Kingdom’s royal capital for 25 years during the reign of King Borom Trailokanat.Phitsanulok was also the birthplace of King Naresuan the Great (R. 1590-1605) the legendary King who declared Ayutthaya’s independence from Burma in 1584. King Naresuan is known for his victorious and honorable single-hand combat atop an elephant-back against a Burmese Crown Prince.
Once named Song Khwae, meaning two rivers, Phitsanulok is situated between the Nan and Khwae Noi Rivers, which is also a strategic location between Thailand’s central plains, northern mountains, and northeastern plateau. Phitsanulok is therefore a natural hub and an ideal base for travelers wishing to explore the lower North and western Northeast. However, Phitsanulok is more than just a stopover for tourists; it is a province with a number of tourism opportunities. While most of Phitsanulok's terrain is flatlands, one third of the area is covered by mountains in the north and east, where national parks and waterfalls await exploration.








พระพุทธชินราชงามเลิศ ถิ่นกำเนิดพระนเรศวร สองฝั่งน่านล้วนเรือนแพ หวานฉ่ำแท้กล้วยตาก ถ้ำและน้ำตกหลากตระการตา
พิษณุโลกเป็นจังหวัดใหญ่ ตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือตอนล่าง และเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ เพราะเจริญรุ่งเรืองมายาวนานตั้งแต่ก่อนสมัยสุโขทัย อีกทั้งยังเคยเป็นเมืองหลวงแทนกรุงศรีอยุธยาถึง 25 ปีด้วยในอดีต พิษณุโลกได้รับการเรียกขานว่า “เมืองสองแคว” เพราะเป็นเมืองที่มีแม่น้ำ 2 สายไหลผ่าน คือ แม่น้ำน่านและแม่น้ำแควน้อย ปัจจุบันพิษณุโลกเป็นเมืองที่มีความเจริญในหลายด้าน และเป็นที่ตั้งของสถานที่สำคัญหลายแห่ง เช่น มหาวิทยาลัยนเรศวร สถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม และท่าอากาศยาน อีกทั้งยังเป็นเมืองที่มีทางรถไฟตัดผ่าน และขบวนรถไฟสายเหนือแทบทุกขบวนล้วนวิ่งผ่านพิษณุโลกทั้งสิ้น จึงทำให้พิษณุโลกกลายเป็นจังหวัดศูนย์กลางทั้งในด้านการบิน การขนส่งทางบก รวมทั้งการค้าที่สำคัญของเขตภาคเหนือตอนล่างนอกจากนี้ พิษณุโลกยังเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญ ที่นับวันจะยิ่งเป็นที่นิยมมากขึ้น เนื่องจากเป็นจังหวัดที่มีแหล่งท่องเที่ยวสำคัญและมีชื่อเสียงหลายแห่ง ในหลากหลายรูปแบบ ทั้งในด้านของประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมประเพณี วิถีชีวิต และแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ มีทำเลที่ตั้งอยู่ใกล้กับจังหวัดท่องเที่ยวที่สำคัญอีกหลายจังหวัด คือ สุโขทัย เลย และเพชรบูรณ์ ทั้งยังเป็นจังหวัดที่มีการจัดการด้านการท่องเที่ยวที่มีประสิทธิภาพ แหล่งท่องเที่ยวต่างๆ มีศักยภาพในการรองรับนักท่องเที่ยวได้เป็นอย่างดี และมีสิ่งอำนวยความสะดวกในด้านการท่องเที่ยวครบครัน ทั้งที่พัก อาหาร ไปจนถึงกิจกรรมท่องเที่ยวต่างๆ ทำให้นักท่องเที่ยวที่มาเยือนจังหวัดพิษณุโลก มักประทับใจและกลับมาเยือนอีกในครั้งต่อๆ ไป
































วันอังคารที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2558

Phichit (พิจิตร)





The land of crocodiles, Phichit was founded nearly a millennia ago and features many historical, cultural, and natural attractions.
Nurtured by two rivers that run parallel to one another north to south, the land of Phichit is agriculturally fertile and has been populated for centuries. Once the site of an ancient town dating back almost a thousand years, Phichit played in a major role in the history of both the Sukhothai and Ayutthaya kingdoms. Known as the land of the crocodiles, Phichit has long been home to this ferocious reptile, which has thrived in its waters, particularly the Yom and Nan Rivers. There are today several fresh-water crocodile farms and few if any wild crocodiles roaming about. Phichit also features in the Thai epic Krai Thong, which was composed by King Rama II, another testament to its long and storied history.
Phichit, which means “the beautiful town " was founded nearly 1,000 years ago, though it changed names several times during the Sukhothai and Ayutthaya periods. Because of its location and fertile soil, the province was a traditionally important region and even the famous Thai love story and epic legend "Kraithong" features Phichit.




ถิ่นประสูติพระเจ้าเสือ แข่งเรือยาวประเพณี พระเครื่องดีหลวงพ่อเงิน เพลิดเพลินบึงสีไฟ ศูนย์รวมใจหลวงพ่อเพชร รสเด็ดส้มท่าข่อย ข้าวเจ้าอร่อยลือเลื่อง ตำนานเมืองชาละวัน
จังหวัดพิจิตรตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำน่านทางตอนล่างของภาคเหนือ ระหว่างจังหวัดนครสวรรค์กับจังหวัดพิษณุโลก ตัวเมืองมีแม่น้ำน่านกับแม่น้ำยมไหลผ่าน ชื่อเมือง “พิจิตร” นั้น มีความหมายว่า “เมืองงาม”จังหวัดพิจิตรเป็นเมืองเก่าแก่ตั้งแต่สมัยสุโขทัย ดังปรากฏในศิลาจารึกหลักที่ 1 ของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช และในศิลาจารึกหลักที่ 8 ของพระยาลิไท ที่เรียกเมืองนี้ว่า “เมืองสระหลวง” โดนขณะนั้นมีสถานะเป็นหัวเมืองเอกของกรุงสุโขทัย ต่อมาในสมัยกรุงศรีอยุธยา เมืองนี้ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “เมืองโอฆบุรี” ซึ่งมีความหมายว่า “เมืองในท้องน้ำ” และเป็นที่ประสูติของสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 หรือ สมเด็จพระพุทธเจ้าเสือ พระมหากษัตริย์พระองค์หนึ่งแห่งกรุงศรีอยุธยาในสมัยรัตนโกสินทร์ เมืองพิจิตรเป็นเพียงเมืองขนาดเล็ก มีเจ้าเมืองปกครองเช่นเมืองอื่นๆ เมื่อถึงสมัยรัชกาลที่ 5 โปรดให้ย้ายเมืองพิจิตรมาตั้งที่บ้านคลองเรียง ซึ่งเป็นคลองขุดใหม่ เพราะขณะนั้นแม่น้ำน่านตื้นเขินมากแล้ว ต่อมาคลองเรียงจึงกลายเป็นส่วนหนึ่งของแม่น้ำน่านไปปัจจุบันบริเวณเมืองพิจิตรเก่ายังคงมีโบราณสถานตั้งแต่สมัยสุโขทัยถึงสมัยอยุธยาปรากฏให้เห็นอยู่หลายแห่ง และจังหวัดพิจิตรยังเป็นถิ่นกำเนิดของนิทานพื้นบ้านเรื่อง “ไกรทอง” อันโด่งดังด้วย

























































Phayao (พะเยา)



While little of its historic heritage remains for visitors to see, Phayao was once an independent kingdom nearly 1000 years ago. While the capital has developed into a charming, relatively modern town, much of Phayao remains unchanged; the province retains its greatly unspoiled natural beauty, featuring both rice growing lowlands and substantial mountains where many hill tribe villages continue to live traditional lifestyles. Phayao town, which is situated beside picturesque Lake Phayao, features ornate gardens and parks that are popular picnicking grounds ideal for watching the fading sunset’s light reflecting upon the lake. The small city exudes a relaxing vibe, although Chai Kwan Road, which runs along the lakeside, features a respectable variety of bars, restaurants and nightclubs. A reasonable selection of accommodation is also available as the region is popular with Thai visitors from other provinces. Aside from the large lake and a number of charming temples however, there is little to do in Phayao except relax and plan for explorations of the countryside and neighboring provinces. Nonetheless, few who make the journey to Phayao have any regrets about visiting this stunningly beautiful province.



กว๊านพะเยาแหล่งชีวิต ศักดิ์สิทธิ์พระเจ้าตนหลวง บวงสรวงพ่อขุนงำเมือง งามลือเลื่องดอยบุษราคัม
จังหวัดพะเยาเดิมชื่อว่าพยาว หรือเมืองภูกามยาวในอดีต เป็นเมืองเก่าแก่เมืองหนึ่งในแถบภาคเหนือ มีอายุกว่า 900 ปี ร่วมสมัยเดียวกับเมืองเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เมืองพยาวเจริญรุ่งเรืองสูงสุดในสมัยพ่อขุนงำเมือง ต่อมาก็ตกเป็นเมืองขึ้นไปตามการเปลี่ยนแปลงการปกครองของอาณาจักรต่างๆ ที่ผลัดกันมีอำนาจในแถบนี้ จนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เมืองพยาวได้เปลี่ยนชื่อเป็นเมืองพะเยา และเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดเชียงราย จนกระทั่งปี พ.ศ. 2520 พะเยาจึงได้รับยกฐานะจัดตั้งขึ้นเป็นจังหวัดพะเยาเป็นเมืองที่มีเสน่ห์ สงบเงียบ โดยมีกว๊านพะเยาเป็นเสมือนสัญลักษณ์การท่องเที่ยวประจำจังหวัด มีศิลปวัฒนธรรม วัดวาอารามต่างๆ อันงดงาม และวีถีชีวิตชาวไทยลื้อที่อพยพมาจากดินแดนสิบสองปันนาในประเทศจีนเป็นสิ่งที่น่าสนใจของจังหวัด